STKC Universe AR

  • STKC Universe AR
ปีงบประมาณ: 
2562-2565

เกี่ยวกับแอปนี้
STKC ได้พัฒนาองค์ความรู้ในรูปแบบใหม่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และช่วยให้เข้าใจในสาระความรู้ได้มากขึ้นผ่านเทคโนโลยี AR หรือ Augmented Reality ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำเอาภาพเสมือน 3 มิติจำลองเข้าสู่โลกจริงผ่านกล้องและมีการประมวลผลโดยการทำให้วัตถุ 3 มิติ (ภาพเสมือน) ทับซ้อนเข้ากันกับภาพจริงเป็นภาพๆเดียว ซึ่งสามารถมองผ่านกล้องได้โดยตรง เรื่อง ปรากฏการณ์ทางอวกาศ

ปีงบประมาณ 2562
เรื่อง สำรวจอวกาศ (Space Exploration)
Marker 1 : การก่อตัวของระบบสุริยะ (Formation of the Solar system)
Marker 2 : ดวงอาทิตย์ (The Sun)
Marker 3 : ดาวเคราะห์ (The Planets)
Marker 4 : โลก (The Earth)
Marker 5 : ดวงจันทร์ (The Moon)
Marker 6 : ปรากฎการณ์สุริยุปราคา และ จันทรุปราคา (Solar eclipse & Lunar eclipse)
Marker 7 : ดาวเคราะห์เก้า (The planet nine)
Marker 8 : ดาวหาง (The Comet)
Marker 9 : การสำรวจอวกาศ (Space exploration)
Marker 10 : นักบินอวกาศ (The Astronuts)

ปีงบประมาณ 2562
เรื่อง ปรากฎการณ์ทางอวกาศ
Marker 1 : ลมสุริยะ (Solar Wind)
Marker 2 : เปลวสุริยะ (Solar flare)
Marker 3 : พายุสุริยะ (Solar strom)
Marker 4 : ปรากฎการณ์ซูเปอร์โนวา (Supernova)
Marker 5 : หลุมดำ (Black hole)
Marker 6 : สสารมืด (Dark matter)
Marker 7 : รังสีคอสมิก (Cosmic ray)
Marker 8 : แสงออโรรา (Aurora)
Marker 9 : แสงสนธยา (Twilight)
Marker 10 : ปรากฎการณ์ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน (Midnight Sun)

ปีงบประมาณ 2563
เรื่อง หลุมดำ
Marker 1 : ทฤษฎีสัมพันธภาพ (Theory of relativity)
Marker 2 : คุณสมบัติของหลุมดำ (Properties of Black holes)
Marker 3 : การกำเนิดหลุมดำ (Birth of Black hole)
Marker 4 : คลื่นความโน้มถ่วง (Gravitational Waves)
Marker 5 : เลนส์ความโน้มถ่วง (Gravitational Lens)
Marker 6 : การค้นพบหลุมดำจากการตรวจจับคลื่นความโน้มถ่วง
Marker 7 : ภาพถ่ายหลุมดำ (The First Picture of Black hole)
Marker 8 : ถ้าหากเราตกลงไปในหลุมดำ ? (What happens if you Fall into a Black hole)
Marker 9 : การแผ่รังสีฮอว์กิง (Hawking Radiation)
Marker 10 : หลุมดำที่น่าสนใจ (Famous Black hole)
Minigame หนีออกจาจากหลุมดำ!

ปีงบประมาณ 2564
Marker 1 : ดาวเคราะห์อิสระ (Rogue Planet)
Marker 2 : สิ่งมีชีวิตในดาวเคราะห์อิสระ (Properties of Black holes)
Marker 3 : ถ้าหากโลกเรากลายเป็นดาวเคราะห์อิสระ ? (Birth of Black hole)
Marker 4 : ดาวนิวตรอน (Gravitational Waves)
Marker 5 : สสารประหลาด (Gravitational Lens)
Marker 6 : ดาวเคราะห์แดง (Red Dwarfs)
Marker 7 : ดาวแคระขาว (White Dwarfs)
Marker 8 : การทำเหมืองในอวกาศ (Asteroid Mining)
Marker 9 : ลิฟท์อวกาศ (Space Elevator)
Marker 10 : การตั้งอาณานิคมบนดวงจันทร์ (Colonization of the Moon)
Marker 11 : การตั้งอาณานิคมบนดาวอังคาร (Colonization of the Mars)
Marker 12 : ไดสันสเฟียร์ (Dyson sphere)
Marker 13 : การปลูกพืชในอวกาศ (Planting in space)
Marker 14 : สถานีอวกาศนานาชาติ (International space station)
Marker 15 : Mini Game การทำเหมืองในอวกาศ

ปีงบประมาณ 2565
เรื่อง โครงการสำรวจระบบสุริยะ
Marker 1 : โครงการไวกิง (Viking Program)
Marker 2 : ยานมาร์ส พาธไฟน์เดอร์ (Mars Pathfinder)
Marker 3 : รถสำรวจสปิริต (Spirit rover)
Marker 4 : รถสำรวจออพพอร์ทูนิตี้ (Opportunity rover)
Marker 5 : รถสำรวจคิวริออซิตี (Curiosity rover)
Marker 6 : ยานเพอร์เซอเวียแรนซ์ (Perseverance)
Marker 7 : ภารกิจเทียนเวิ่น-1 (Tianwen-1)
Marker 8 : ยานไพโอเนียร์ 10 (Pioneer 10)
Marker 9 : ยานสำรวจอวกาศวอยเอจเจอร์ (Voyager)
Marker 10 : แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์ (Voyager golden record)
Marker 11 : ยานสำรวจอวกาศกาลิเลโอ (Galileo Spacecraft)
Marker 12 : ยานสำรวจอวกาศจูโน (Juno spacecraft)
Marker 13 :ภารกิจคัสซีนี-ฮอยเกนส์ (Cassini-Huygen)
Marker 14 : ยานสำรวจอวกาศนิวฮอไรซันส์ (New Horizon)
Marker 15 : Mini Game การสำรวจดวงดาว