รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
โซเชียลในตอนนี้ เผยแพร่โรคที่กำลังระบาด และกำลังแพร่กระจาย พบผู้ป่วยแล้วในทุกภาค แต่จะชุกชุมมากในภาคใต้ โรคนี้มีพาหะแพร่เชื้อเป็นแมลงชื่อ "ริ้นฝอยทราย" รูปร่างคล้ายยุง มักอาศัยอยู่ตามพื้นที่เกษตรกรรมที่มีต้นไม้เยอะอากาศร้อนชื้น รวมถึงพื้นที่ที่เป็นป่า อาการเริ่มแรกของผู้ติดเชื้อคือหลังจากโดนแมลงร
วันที่เผยแพร่: 2 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
โลกมักถูกขนานนามว่า “ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน” เนื่องจากเมื่อมองจากอวกาศ จะเห็นว่าโลกถูกปกคลุมด้วยมหาสมุทรเป็นส่วนใหญ่
วันที่เผยแพร่: 29 เมษายน 2568 อ่านต่อ
โดยภาพรวมแล้ว กระแสน้ำในมหาสมุทรมีบทบาทสำคัญในการรักษาสมดุลความร้อนของโลก กระแสน้ำทำหน้าที่ถ่ายเทความร้อนจากบริเวณเขตร้อน (ซึ่งมีความร้อนสะสมอยู่มากเกินไป) ไปยังบริเวณขั้วโลกที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า (ซึ่งมีความร้อนสะสมอยู่น้อย) และในทางกลับกัน การเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในมหาสมุทรคิดเป็นประมาณ 25% ของกา
วันที่เผยแพร่: 25 เมษายน 2568 อ่านต่อ
มหาสมุทรสำคัญของโลกนั้นเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
วันที่เผยแพร่: 23 เมษายน 2568 อ่านต่อ
เครื่องวัดความไหวสะเทือนทำงานอย่างไร
วันที่เผยแพร่: 21 เมษายน 2568 อ่านต่อ
FYI Today!
วันที่เผยแพร่: 17 เมษายน 2568 อ่านต่อ
ตามที่ทราบมาแล้วว่า ขนาดของแผ่นดินไหวนั้นวัดจากขนาดความกว้างที่สุดของคลื่นที่วัดได้จากเครื่องวัดคลื่นแผ่นดินไหวหรือไซสโมแกรม อย่างไรก็ดีความเสียหายหรือความพินาศที่เราได้รับจากแผ่นดินไหวนั้นไม่ได้ขึ้นกับปัจจัยความรุนแรงที่วัดเพียงอย่างเดียว แม้ว่าขนาดความรุนแรงจะเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างชัดเจน แต่ก็
วันที่เผยแพร่: 14 เมษายน 2568 อ่านต่อ
มนุษย์เรามีประสบการณ์การเกิดแผ่นดินไหวมานานนับพันปี แต่เพิ่งจะมีระบบที่แม่นยำในการวัดขนาด และพลังร้ายแรงของแผ่นดินไหว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935 (พ.ศ. 2478)เท่านั้น ในปี ค.ศ. 1935 (พ.ศ.
วันที่เผยแพร่: 11 เมษายน 2568 อ่านต่อ
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวหรือเอพิเซนเตอร์นี้ เป็นจุดที่อยู่บนผิวโลก โดยอยู่เหนือและตรงกับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่อยู่ภายในโลก (ดูภาพประกอบ) จุดที่เป็นเอพิเซนเตอร์ของการเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง สามารถหาตำแหน่งได้จากการหาค่าต่างของความเร็วคลื่น P และคลื่น S จากการที่เรารู้ว่า คลื่น P เคลื่อนที่ไ
วันที่เผยแพร่: 8 เมษายน 2568 อ่านต่อ
เมื่อเกิดแผ่นดินไหว จะเกิดคลื่นชนิดหนึ่งเคลื่อนที่รอบๆ เปลือกโลกชั้นนอก คลื่นประเภทนี้เรียกว่า คลื่นผิวพื้น (surface waves) หรือ คลื่นยาว (L) long waves คลื่นอีกชนิดหนึ่งจะเดินทางภายในโลก เรียกว่า
วันที่เผยแพร่: 26 มีนาคม 2568 อ่านต่อ
การค้นพบสาเหตุของแผ่นดินไหวที่แท้จริงนั้นเริ่มจาก เมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่ที่ เมืองซานฟรานซิสโกในปี ค.ศ. 1906 (พ.ศ.
วันที่เผยแพร่: 21 มีนาคม 2568 อ่านต่อ
แผ่นดินไหว คือปฏิกิริยาการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ที่เกิดขึ้นจากการปลดปล่อยพลังงานอย่างรวดเร็ว จริงที่ว่ามีอีกหลายสาเหตุในโลกนี้ที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวสะเทือน ไม่ว่าจะเป็นการระเบิดของระเบิดนิวเคลียร์ (atomic bomb) หรือ การระเบิดของภูเขาไฟ เป็นต้น
วันที่เผยแพร่: 17 มีนาคม 2568 อ่านต่อ