โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร วัคซีนป้องกันได้หรือไม่?

โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร

องค์การอนามัยโลก (WHO) เปลี่ยนชื่อในการเรียกสายพันธุ์โควิด-19 จากชื่อประเทศที่พบเชื้อโควิดครั้งแรก เป็นระบบตัวอักษรภาษากรีก เช่น อัลฟ่า เบต้า แกมมา และเดลต้า เพื่อลดการตีตราประเทศนั้นๆ

โดยมีการบัญญัติชื่อเรียกสายพันธุ์โควิดใหม่ ดังนี้

- สายพันธุ์อังกฤษ (B.1.1.7) คือ สายพันธุ์อัลฟ่า (A)
- สายพันธุ์แอฟริกาใต้ (B.1.351) คือ สายพันธุ์เบต้า (B)
- สายพันธุ์บราซิล (P.1) คือ สายพันธุ์แกมมา (Γ)
- สายพันธุ์อินเดีย (B.1.617.2) คือ สายพันธุ์เดลต้า (Δ)

โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า อันตรายมากแค่ไหน?
ความสามารถในการแพร่เชื้อของโควิดสายพันธุ์เดลต้า มากกว่าสายอัลฟ่า 40% จึงต้องมีการจับตาอย่างใกล้ชิด เป็นรายสัปดาห์ หากสถานการณ์ยังทรงๆ อาจจะไม่มีปัญหาแต่หากยังมีการแพร่ระบาดแบบก้าวกระโดด คาดว่าประมาณ 2-3 เดือน อาจจะเป็นสายพันธุ์ที่ระบาดมากขึ้นสัดส่วนครึ่งต่อครึ่งกับสายพันธุ์อัลฟ่า

โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า อันตรายมากแค่ไหน?
ความสามารถในการแพร่เชื้อของโควิดสายพันธุ์เดลต้า มากกว่าสายอัลฟ่า 40% จึงต้องมีการจับตาอย่างใกล้ชิด เป็นรายสัปดาห์ หากสถานการณ์ยังทรงๆ อาจจะไม่มีปัญหาแต่หากยังมีการแพร่ระบาดแบบก้าวกระโดด คาดว่าประมาณ 2-3 เดือน อาจจะเป็นสายพันธุ์ที่ระบาดมากขึ้นสัดส่วนครึ่งต่อครึ่งกับสายพันธุ์อัลฟ่า 

 

วันที่: 
Fri 25 June 2021
แหล่งที่มา: 
https://www.hfocus.org/content/2021/06/21944,https://www.sanook.com/health/29121/
Hits 1,709 ครั้ง