รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic Planet) ในอดีตนักวิทยาศาสตร์ศึกษาโลกแบบแยกส่วน นักธรณีวิทยาศึกษาเปลือกโลกที่เป็นของแข็ง นักสมุทรศาสตร์ศึกษาทะเลและมหาสมุทร นักอุตุนิยมวิทยาศึกษาบรรยากาศ นักชีววิทยาศึกษาสิ่งมีชีวิต ขณะที่นักดาราศาสตร์ศึกษาดา
วันที่เผยแพร่: 14 มีนาคม 2561 อ่านต่อ
สั่งน้ำมูกมีเลือดปนออกมา อาการนี้อาจไม่ใช่แค่โรคหวัด คัดจมูก เพราะน้ำมูกเป็นเลือดอาจส่อถึงความผิดปกติในโพรงจมูก อวัยวะส่วนลึกที่เราไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง !
วันที่เผยแพร่: 27 กุมภาพันธ์ 2561 อ่านต่อ
อีกหนึ่งโรคทางพันธุกรรมที่แสดงอาการน้อยบ้าง มากบ้างในบางคน ทำให้จับจากอาการแสดงได้ค่อนข้างยากจนพลาดการรักษา ทั้งที่โรคนี้รักษาให้หายขาดได้ ด้วยการปลูกถ่ายสเต็มเซลล์
แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์รองอธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า ในช่วงวันวาเลนไทน์หรือวันแห่งความรัก คู่รักนิยมมอบของขวัญแทนใจให้กันรวมถึงของขวัญให้คนที่เราเคารพรักหรือคนในครอบครัว และสำหรับวันแห่งความรักปีนี้ กรมอนามัยขอแนะนำทางเลือกที่มีคุณค่าทางโภชนาการด้วยการมอบกระเช้าผลไม้สีแดง ซึ่งนอกจากจะมีสีสัน
บริษัท Paloalto ได้เปิดเผยการพบลิงก์อันตรายซึ่งใช้สำหรับแพร่กระจายมัลแวร์กว่า 250 ตัวอย่าง ที่ใช้ขุดเหรียญ Monero ซึ่งเป็นสกุลเงินหนึ่งของเงินดิจิทัลประเภท Cryptocurrency พบว่ามีผู้คนคลิกลิงก์ดังกล่าวมากกว่า 15 ล้านครั้ง ประเทศไทยคลิกมากที่สุดในโลก โดยคลิกมากถึง 3.5 ล้านครั้ง
เมื่อโลกกำลังก้าวเข้าสู่ยุคที่อินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อกับทุกสิ่ง Internet of Things หรือ IoT ยกตัวอย่างเช่นเช่น กล้องวงจรปิด สมาร์ตทีวี หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ก็เริ่มมีออกมาให้เห็นกัน แน่นอน ด้วยทุกสิ่งเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ย่อมหมายถึงโอกาสที่จะเกิดการแฮกโจมตีโดยอาชญากรไซเบ
ยุคนี้การช้อปปิ้งก็เปลี่ยนไป การซื้อของก็สามารถซื้อได้โดยไม่ต้องออกจากบ้าน ไม่ต้องนั่งรถฝ่ารถติด และสะดวกง่ายแค่ปลายนิ้วผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วยเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงมากและรวดเร็ว จนหลายธุรกิจขยับปรับตัวเข้าหาโลกออนไลน์กันมากขึ้น โดยเฉพาะ E-Commerce ต่างงัดกลยุทธ์พัฒนานวัตกรรมต
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ (Doppler Effect) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความยาวคลื่น เนื่องจากความสัมพัทธ์ระหว่างทิศทางการเคลื่อนที่ของแหล่งกำเนิดกับผู้สังเกตการณ์ ขณะที่แหล่งกำเนิดคลื่นเคลื่อนที่เข้าหา ผู้สังเกตการณ์จะสังเกตเห็นความยาวคลื่นสั้นลง (ความถี่สูงขึ้น) และเมื่อแหล่งกำเนิด
นักดาราศาสตร์ทำการศึกษาวัตถุท้องฟ้า โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่วัตถุ
แสง แสดงความประพฤติเป็นทั้ง “คลื่น” และ “อนุภาค” เมื่อเรากล่าวถึงแสงในสมบัติความเป็นคลื่น เราเรียกว่า “คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า” (Electromagnetic waves) เมื่อเรากล่าวถึงแสงในสมบัติของอนุภาค เราเรียกอนุภาคของแสงว่า “โฟตอน” (Phot
เป็นที่ทราบกันดีว่า เรามองเห็นวัตถุเนื่องจากวัตถุได้รับรังสีแล้วสะท้อนเข้าดวงตาของเรา ทว่าความจริงแล้วทุกสรรพสิ่งในจักรวาลนี้แผ่รังสีออกมาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งมีทั้งคลื่นที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้หรือมองไม่เห็น ทั้งนี้ความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่รังสีออกมาขึ้นอยู่กับระดับอุณหภูมิข
แสง คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves เรียกย่อๆ ว่า EM) ซึ่งประกอบด้วย สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเคลื่อนที่ทำมุมตั้งฉากกัน ระยะทางระหว่างยอดคลื่นหนึ่งถึงยอดคลื่นถัดไปเรียกว่า ความยาวคลื่น (Wavelength) ดังภาพที่ 1