รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
จากต้นกำเนิดโทรศัพท์ที่นำเสนอไป วันนี้จะพาน้องๆ ไปทำการทดลอง "โทรศัพท์กระป๋อง" ที่ใช้หลักการและแนวคิดเดียวกันกับการประดิษฐ์โทรศัพท์ในสมัยก่อน ก่อนอื่นเราไปดูอุปกรณ์กันเลยครับ 1. กระป๋องเปล่า 2 ใบ 2. เชือก 3. ตะปู และ ฆ้อน วิธีทำการทดลอง
วันที่เผยแพร่: 22 กุมภาพันธ์ 2561 อ่านต่อ
หลายคนอาจคิดถึงแค่ว่า อาหารมื้อนี้จะทำให้อ้วนหรือไม่ พลังงานมากเกินไปหรือเปล่า ย่อยยากไหม ถ่ายยากไหม เสาะท้องหรือไม่ แต่จริงๆ แล้วอาหารในแต่ละคำที่เราทานเข้าไป ไม่ได้ส่งผลแค่กับร่างกายของเราเท่านั้น แต่ยังส่งผลไปถึงสมองของเราด้วย
วันที่เผยแพร่: 14 กุมภาพันธ์ 2561 อ่านต่อ
ลมหรือกระแสอากาศในแนวราบ เกิดขึ้นจากอากาศเย็นในหย่อมความกดอากาศสูง (H)
โลกมีสัณฐานเป็นทรงกลม
ปัจจัยหลักที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนสถานะของน้ำคือ
อุณหภูมิ (Temperature) คือค่าตัวเลขที่มีความสัมพันธ์กับระดับพลังงานจลน์ภายในอะตอมในระบบองศาสัมบูรณ์ (Absolute Temperature) ระดับพลังงานที่อุณหภูมิิ 0 เคลวิน (-273 °C) อะตอมไม่มีพลังงานอยู่เลย ดังนั้นอนุภาคทุกอย่างภายในอะตอมหยุดนิ่ง แม้กระทั่งอิเล็กตรอนก็ไม่โคจรรอบนิวเคลียส แต่เมื่ออะตอมได้รับพลัง
เก็บยาไว้ในตู้เย็น เป็นเรื่องจริงที่อาจจะกล่าวได้ว่า อากาศร้อนอบอ้าวอาจทำให้ยาเสื่อมสภาพเร็วขึ้นกว่าเดิม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการเก็บยาในตู้เย็นจะช่วยยืดอายุของยาให้ใช้ได้นานขึ้น เพราะนอกจากการเก็บยาในที่อากาศเย็นมากเกินไป จะทำให้ตัวยาเสื่อมสภาพได้เหมือนกันแล้ว ยังทำให้ยาเกิดสารพิษเพิ่มขึ้นมาได้
เชื้ออีโคไล (E.
หยาดน้ำฟ้า (Precipitation) เป็นชื่อเรียกรวมของหยดน้ำและน้ำแข็ง ที่เกิดจาการควบแน่นของไอน้ำแล้วตกลงมาสู่พื้น เช่น ฝน ลูกเห็บ หิมะ เป็นต้น หยาดน้ำฟ้าแตกต่างจากจากหยดน้ำหรือละอองน้ำในก้อนเมฆ (Cloud droplets) ตรงที่หยาดน้ำต้องมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักมากพอที่จะชนะแรงต้านอากาศ และตกสู่พื้นโลกได้โดยไม่ระเ
วันที่เผยแพร่: 12 กุมภาพันธ์ 2561 อ่านต่อ
แม้ว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่ของบรรยากาศจะเป็นไนโตรเจนและออกซิเจน แต่แก๊สทั้งสองชนิดไม่ได้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งต่ำมาก อุณหภูมิของบรรยากาศและพื้นผิวโลกสูงเกินกว่าที่จะทำให้แก๊สทั้งสองชนิดเปลี่ยนสถานะได้ ยกตัวอย่าง หากจะทำให้แก๊สไนโตรเจนในอากาศเป
เพียงแค่คุณได้กระโดดลงในสระ ก็ลืมไปหมดสิ้นถึงคุณภาพของน้ำและสารเคมีที่อยู่ในน้ำ เราไม่สามารถรับรู้ได้ว่าจะมีใครแอบปัสสาวะลงไปในสระน้ำที่คุณกำลังเล่นอย่างสนุกสนานอยู่หรือไม่ ซึ่งนั่นไม่ใช่สิ่งที่ดี เนื่องด้วยสารเคมีที่เป็นผลพลอยได้จากปัสสาวะและคลอรีนอาจไม่ปลอดภัยอย่างที่คิด
วันที่เผยแพร่: 9 กุมภาพันธ์ 2561 อ่านต่อ