รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
กลิ่นกายที่หอมชวนหลงใหลเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งที่มนุษย์ตั้งแต่ในยุคโบราณถึงปัจจุบันนั้น ต้องการที่จะมี จึงได้มีการรังสรรค์น้ำหอมกลิ่นต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อสร้างเสน่ห์ให้กับตนเอง ด้วยการฉีดพรมลงบนเสื้อผ้าหรือร่างกาย โดยเชื่อกันว่าการฉีดน้ำหอมลงบนจุดชีพจร เป็นจุดที่จะทำให้น้ำหอมนั้นส่งกลิ่นได้ดีและติดทนนา
วันที่เผยแพร่: 13 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
เข้าใจกันว่า ...
วันที่เผยแพร่: 10 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
คนส่วนใหญ่มักคิดว่าเป็นเพราะแสงอาทิตย์มาบดบังแสงดาว แต่ความจริงแล้วเป็นเพราะแสงอาทิตย์สว่างกว่าแสงขอดวงดาว ดวงตาของมนุษย์มีกลไกปรับสภาพให้มองเห็นแสงที่สว่างมากกว่า เราจึงมองไม่เห็นแสงดาว คล้ายกับการที่เราแทบมองไม่เห็นดวงไฟของไฟฉายที่เปิดกลางแดด
วันที่เผยแพร่: 9 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
แสงแดดประกอบไปด้วยรังสีมากมาย หนึ่งในนั้นคือรังสียูวีเอ เมื่อร่างกายได้รับรังสียูวีเอ จะกระตุ้นให้ผลิตเม็ดสีเมลานินเพื่อปกป้องผิวหนังจากแสงแดดผิวบริเวณที่ได้รับแสงแดดจึงมีความเข้มมากขึ้น
วันที่เผยแพร่: 8 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
ดวงตาของเรามีการเคลื่อนที่ในระดับเล็ก ๆ ตลอดเวลา แม้แต่การที่เราเพ่งจุดสนใจไปที่อะไรบางอย่าง การเคลื่อนไหวของดวงตานี้ช่วยทำให้ภาพที่เราเห็นมีความชัดอยู่เสมอ หากถูกใช้เพ่งมองเป็นเวลานาน เซลล์ที่ไวต่อการรับแสงบนเรตินา (retina) หรือจอประสาทตาอาจจะล้าได้ ถึงแม้การเคลื่อนไหวเล็ก ๆ นี้จะมีประโยชน์ แต่ก
วันที่เผยแพร่: 6 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
ข้าวเหนียวเป็นอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตในรูปแบบของแป้งชนิดหนึ่ง คนไทยนิยมรับประทานกันมากทั่วทุกภาคของประเทศ เพราะว่าทานแล้วอิ่มท้อง รับประทานได้กับอาหารหลากหลาย แถมมีรสชาติอร่อย โดยเฉพาะเมื่อทานคู่กับไก่ย่าง ส้มตำ รวมไปถึงผลไม้ เช่น มะม่วง ทุเรียน เคยสงสัยกันไหมคะว่า ทำไมข้าวเหนียวถึงเหนียว ไม่เหมือ
วันที่เผยแพร่: 2 พฤศจิกายน 2560 อ่านต่อ
วันที่เผยแพร่: 27 ตุลาคม 2560 อ่านต่อ
โครงการวอยเอเจอร์ (Voyager program) เป็นโครงการที่ส่งยานอวกาศสองลำ ชื่อ วอยเอเจอร์ 1 และ วอยเอเจอร์ 2 ออกไปสำรวจระบบสุริยะชั้นนอก โดยทั้งสองลำนี้ถูกส่งออกนอกโลกในปี ค.ศ. 1977
วันที่เผยแพร่: 25 ตุลาคม 2560 อ่านต่อ
วันที่เผยแพร่: 18 ตุลาคม 2560 อ่านต่อ
1. อากาศส่วนใหญ่เป็นก๊าซ อากาศในบรรยากาศโลกประกอบด้วยประมาณ 78% ไนโตรเจน 21% ออกซิเจน และก๊าซอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน 2. อากาศไม่มีเพียงก๊าซ ในอากาศยังมีอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมาก เช่น ฝุ่น นอกจากนี้ในอากาศยังมีควัน เขม่า
วันที่เผยแพร่: 11 ตุลาคม 2560 อ่านต่อ
http://video.sanook.com/player/1150845/
วันที่เผยแพร่: 10 ตุลาคม 2560 อ่านต่อ
รองศาสตราจารย์ ปรเมษฐ์ มนูญพงศ์ หนึ่งในสมาชิกของสมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมิภาคยุโรป (The Association of Thai Professionals in European Region – ATPER) ซึ่งเป็นสมาคมที่สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ ได้ให้การสนับสนุนอยู่โดยเฉพาะในด้านการถ่ายทอดความรู้ด้าน วทน.
วันที่เผยแพร่: 15 มิถุนายน 2560 อ่านต่อ