รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ศัพท์วิทย์น่ารู้ประจำฉบับที่ 203 ขอน้อมนำแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาอธิบายโดยสังเขป รวมทั้งคำว่า สิทธิบัตร ที่บางคนอาจยังไม่คุ้นเคยนัก นอกจากนั้นยังมีศัพท์ที่ทุกคนได้ยินกันมากจากสื่อต่างๆ ในปัจจุบัน และถือเป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาลนั
วันที่เผยแพร่: 31 พฤษภาคม 2560 อ่านต่อ
มนุษย์รู้จักใช้ประโยชน์จากเทียนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เริ่มแรกเราเรียนรู้การใช้แสงสว่างจากเปลวเทียนจากไขมันของสัตว์เมื่อสามพันปีก่อนคริสตกาล ชาวอียิปต์สามารถทำเทียนได้จากขี้ผึ้งซึ่งได้จากสารที่ผึ้งขับออกมาเพื่อซ่อมแซมรังผึ้ง ต่อมาในช่วงศตวรรษ 18 การผลิตเทียนนิยมใช้ไขปลาวาฬเป็นวัตถุดิบหลัก และได้พ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้คนไทยเมื่อปี พ.ศ.2517 ความบางส่วนว่า “การพัฒนาประเทศนั้นจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิ
การรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ (Laboratory Accreditation) หมายถึง การยอมรับอย่างเป็นทางการจากหน่วยรับรองระบบงานให้แก่หน่วยตรวจสอบและรับรอง เพื่อแสดงถึงความสามารถในการดำเนินการตามระบบมาตรฐานของหน่วยตรวจสอบและรับรอง เช่น หน่วยรับรองที่ให้การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 1702
การพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคมฐานความรู้และขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและเป็นเป้าหมายสูงสุดของกรมวิทยาศาสตร์บริการ สำนักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการเป็นหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง การแบ่งส่วนราชการกร
สิทธิบัตรตามความหมายของกรมทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด เป็นสิทธิพิเศษที่ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จำหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วง
เมื่อกล่าวถึงสารเคมี คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงสารจำพวกกรดหรือด่าง แต่เมื่อพูดถึงสารฝนหลวงหลายคนคงจะนึกไม่ออกว่าสารเคมีที่ใช้ทำฝนหลวงนั้นคือสารประเภทหรือกลุ่มไหน เรามาทำความรู้จักสารเคมีฝนหลวงกัน สารเคมีที่ใช้ทำฝนหลวงมีหลายชนิดบางชนิดมีคุณสมบัติดูดซับความชื้นได้ดี (Hygroscopic substances) บางชนิดมีคุณ
จากนโยบายรัฐบาลที่มุ่งสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สู่โมเดล ประเทศไทย 4.0 ที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ Value–Based Economy หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยเฉพาะกลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งจัดเป็น 1 ใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ที่มีความสำคัญในการ
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานมานานกว่า 30 ปี ซึ่งเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาขั้นพื้นฐานที่ตั้งอยู่บนทางสายกลางและความไม่ประมาทซึ่งคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนกา
กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) ริเริ่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาตั้งแต่ปี 2544 โดยระบบที่สร้างขึ้น ส่วนใหญ่จะใช้สำหรับงานในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ทางด้านวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ หากแต่ว่ายังมีงานและข้อมูลอีกมากมายมหาศาลที่เราต้องการทราบ ที่ต้องการการวัด วิเคราะห์ ที่อยู่นอกห
โครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปได้ค้นพบระบบการสังเคราะห์แสงเทียมที่ดีกว่าและมีค่าใช้จ่ายที่ต่ำกว่า เพื่อใช้ในการดักจับและกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีและใช้เป็นเชื้อเพลิงต่อไป ซึ่งถือเป็นรูปแบบของพลังงานที่ยั่งยืนของพลังงานหมุนเวียนเพื่ออนาคต
วันที่เผยแพร่: 19 พฤษภาคม 2560 อ่านต่อ
โครงการ BIO4MAP ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ.