รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ตั้งแต่เดือนมกราคม 2560 หากสังเกตท้องฟ้าทางทิศตะวันตกในช่วงดวงอาทิตย์เริ่มลับขอบฟ้า ดาวเด่นดวงแรกที่เราสังเกตเห็นชัดด้วยตาเปล่าคือ “ดาวศุกร์” เมื่อมองด้วยตาเปล่าจะมองเห็นดาวศุกร์เป็นจุดสว่างเล็กๆ หากใช้กล้องโทรทรรศน์หรือกล้องส่องทางไกลจะเห็นว่า ดาวศุกร์ที่สุกสว่างบนท้องฟ้านั้น มีลักษณะเป็นเสี้ยวค
วันที่เผยแพร่: 7 เมษายน 2560 อ่านต่อ
เข้าสู่ช่วงหน้าหนาวนี้เรามักได้ยินข่าวปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ และเราก็สามารถหาข้อมูลได้ล่วงหน้าทั้งวันและเวลาในการเกิดปรากฏการณ์ ดังนั้นคอลัมน์นี้จึงขอแนะนำปรากฏการณ์ที่นักถ่ายภาพดาราศาสตร์น่าจะติดตามถ่ายภาพในช่วงปีนี้กันครับ
3. การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะในอนาคต ถึงแม้กล้องโทรทรรศน์เคปเลอร์จะสามารถตรวจพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะหลายดวงและหลายชนิด แต่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์จะเน้นการตรวจหา เฉพาะดาวฤกษ์บริเวณกลุ่มดาวหงส์ ภายในรัศมี 3,000 ปีแสงจากดวงอาทิตย์
นักดาราศาสตร์พยายามศึกษาและทำความเข้าใจธรรมชาติของท้องฟ้ามาเป็นเวลานาน มีการส่งต่อองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น เรามีองค์ความรู้พื้นฐานหลายอย่างเกี่ยวกับเอกภพ รวมถึงองค์ความรู้เรื่องระบบสุริยะที่เราอาศัยอยู่ นั่นคือ มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ 8 ดวง รวมถึงวัตถุขนาดเล็ก อาทิ ดาวเคราะห์น้อย
เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 ดร.
วันที่เผยแพร่: 27 มีนาคม 2560 อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 ดร. มาณพ สิทธิเดช อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ (ปว.บซ.)) ได้รับมอบหมายจากท่านปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เข้าร่วมกับคณะจากประเทศไทยประกอบด้วย ดร.
เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 ดร. มาณพ สิทธิเดช อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ (ปว.บซ.)) ได้ร่วมกับคณะจากประเทศไทย นำโดยดร.
ประเทศเบลเยียมแบ่งเป็น 3 ภูมิภาคการปกครองได้แก่ แฟลนเดอส์ (Flanders) วาโลเนีย (Wallonia) และบรัสเซลส์ โดยแฟลนเดอส์เป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุด ระบบการวิจัยของเบลเยียมมีรูปแบบกระจายอำนาจ (decentralised) โดยนโยบายการวิจัยและการระดมทุนจะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของภูมิภาคนั้น ๆ ในแต่ละภูมิภาค การจั
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ได้ให้การสนับสนุนการจัดงาน Urban Mobility Lab ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ถึง 14 สิงหาคม ค.ศ. 2016 โดยให้การสนับสนุนการนำวิทยากรชาวไทยจากยุโรป คือ ดร.
ดร. มาณพ สิทธิเดช อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ (ปว.บซ.)) ได้เข้าร่วมการประชุม 10 Tech Enablers: Europe’s Rising University-Industry Clusters ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ.
เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 2016 ดร.
ความมั่นคงทางด้านอาหารและโภชนาการ ถือเป็นประเด็นที่ท้าทาย และมีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นประเด็นที่ซับซ้อนและจำเป็นต้องมีการจัดการอย่างเร่งด่วน ทั้งการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมเมือง การอพยพ การขาดแคลนทรัพยากร และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่างก็