รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ข้อเท็จจริงของการกำหนดวันคลอดบุตรของคุณแม่ แพทย์สามารถกำหนดวันคลอดบุตรได้ถูกต้องตามกำหนดเพียง 5 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น อีก 90 เปอร์เซ็นต์มักจะคลอดเกินวันที่แพทย์กำหนดไว้ แต่ปัจจุบันแพทย์ค้นพบวิธีที่ช่วยให้กำหนดวันคลอดลูกได้แม่นยำมากขึ้น โดยในเดือนตุลาคม พ.ศ.
วันที่เผยแพร่: 14 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
หลายคนคงเคยได้ยินคำว่า YOYO Effect กันมาบ้างแล้ว แต่แท้จริงแล้วมันคืออะไรกันแน่ ลองมาหาคำตอบกันค่ะ “YOYO Effect” คือการเหวี่ยงตัวอย่างรวดเร็วของน้ำหนักตัว ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการเหวี่ยงของลูกดิ่งหรือโยโย่ ลูกดิ่งเป็นของเล่นชนิดหนึ่งที่หมุนโดยมีแกนติดกับเชือกเวลาเล่นต้องจับลูกดิ่งโยนลงพื้นถ้าเราอ
ธรรมชาติของอาหารเกือบทุกชนิด เมื่อเก็บไว้นานๆ ย่อมเปลี่ยนสภาพ จากของสดใหม่กลายเป็นเน่าเสีย นั่นก็เพราะฝีมือของจุลินทรีย์ในอากาศที่รายล้อมตัวเรามากมาย เมื่อใดที่จุลินทรีย์เหล่านี้ปะปนลงไปในอาหาร นั่นหมายความว่ากระบวนการเน่าเสียได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว เพราะการเน่าเสียเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงได้ยาก กร
วันที่เผยแพร่: 13 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
ค่าพีเอช (pH) เป็นค่าที่แสดงความเป็นกรดเป็นเบสของของเหลว ตัวอักษร pH นั้นย่อมาจาก Potential of Hydrogen ion หรือค่าจากการวัดความเข้มข้นของไอออนไฮโดรเจน เนื่องจากสูตรที่ใช้คำนวณค่าพีเอชเป็นค่าติดลบของลอการิทึม ค่าพีเอชน้อยจึงมีจำนวนไอออนไฮโดรเจนมาก และมีคุณสมบัติเป็นกรด ตัวอย่างเช่น
มีงานวิจัยล่าสุด ได้กล่าวถึงการสูญเสียการได้ยินอย่างเฉียบพลันว่า มีสาเหตุที่มาจาก การขาดธาตุเหล็ก ซึ่งอย่างที่เรารู้กันอยู่แล้วว่า ธาตุเหล็กนั้นมีความสำคัญต่อร่างกายอย่างมากโดยเฉพาะเป็นส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง ที่มีหน้าที่ในการช่วยลำเลียง ออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกาย แต่จะเกี่ยวข้องอย่างไรกับการส
วันที่เผยแพร่: 12 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
ช่วงอายุ 11 ปี คือช่วงสำคัญที่มนุษย์จะสามารถเรียนรู้ภาษาใหม่ได้ดี คนส่วนใหญ่จะไม่สามารถพูดภาษาต่างประเทศได้อย่างคล่องแคล่วหากเริ่มเรียนหลังอายุ 11 ปี ศูนย์กลางด้านภาษาในสมองของเราส่วนมากจะอยู่ที่สมองกลีบขมับ (Temporal Lobe)
นักวิทยาศาสตร์พบว่ามนุษย์รับรู้อารมณ์ ความรู้สึกของคู่สนทนาได้จากเสียงมากกว่าคำพูด
วันที่เผยแพร่: 9 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
ความสำเร็จดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร Public Library of Science ONE เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2558 ซึ่งเป็นการเปิดประตูสู่การอนุรักษ์สายพันธุ์สัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์รวมถึงเทคนิคใหม่ๆ ในการตัดต่อยีนเพื่อกำจัดโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในสุนัขและเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาโรคทางพันธุกรรมในมนุษย์
การสวมใส่เสื้อผ้าในทุก ๆ วันของเราสามารถป้องกันผิวหนังจากรังสียูวีในแสงแดดได้ และเนื่องจากเสื้อผ้าในปัจจุบันนั้นมีมากมายหลายแบบและหลากหลายเนื้อผ้าให้เลือกตามความต้องการ ซึ่งทราบหรือไม่ว่าเนื้อผ้าแต่ละประเภทนั้นให้ความสามารถในการป้องกันรังสียูวีต่างกัน ครั้งนี้จึงขอรวบรวมปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อปร
วันที่เผยแพร่: 8 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
“แดดเมืองไทยนี่มันช่างทำร้ายกันเสียเหลือเกิน ไหนจะต้องใส่แขนยาวทั้งที่อากาศก็ร้อน ไหนจะต้องใส่หมวกถือร่มอีก แล้ววันนี้จะไปเลือกซื้อครีมกันแดดด้วย แต่ค่า SPF กับ PA ที่โฆษณาคืออะไรนะ? ต้องใช้ที่มีค่าสูง ๆ ไว้ก่อนถึงจะดีหรือเปล่า? ” วันนี้เรามีคำตอบมาให้ค่ะ
นับเป็นครั้งแรกที่นักวิจัยได้ค้นพบความสามารถพิเศษในตัวค้างคาว ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยของเชื้อโรคอันตราย แต่พวกมันกลับไม่ได้เป็นโรคใด ๆ
วันที่เผยแพร่: 7 พฤศจิกายน 2561 อ่านต่อ
งานวิจัยเผยหากเราดื่มน้ำเปล่ามากขึ้นในหนึ่งวัน จะทำให้บริโภคอาหารได้น้อยลง รวมถึงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวคอเลสเตอรอล น้ำตาล และโซเดียมเป็นส่วนประกอบ