รวบรวมบทความ/สื่อตีพิมพ์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ลักษณะสำคัญของการกัดเซาะและการเกิดตะกอนของคลื่น แต่ส่วนใหญ่แล้วมักจะทำมุมเข้าหาฝั่งในองศาต่างๆ น้อยมากๆ ที่คลื่นจะมาถึงฝั่งตรงๆ อย่างไรก็ดีคลื่นที่เคลื่อนตัวทำมุมต่างๆ นี้ เมื่อมาถึงบริเวณน้ำตื้นใกล้ฝั่งจริงๆ ก็จะหักโค้งตัวกลับมาสู่แนวขนานกับฝั่งทะเล การที่คลื่นโค้งตัวนี้เรียกว่า เกิดการหักเหของค
วันที่เผยแพร่: 19 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
The processes by which waves erode หมายถึง กระบวนการที่คลื่นทะเลทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นผลจากพลังงานของคลื่นที่กระทบและพังทลายชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง โดยหลัก ๆ มี 4 กระบวนการสำคัญ ดังนี้:
วันที่เผยแพร่: 15 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
พื้นมหาสมุทร นักสมุทรศาสตร์ใช้วิธีการหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเทคนิคโซนาร์แบบหลายลำแสง หรือดาวเทียมที่ติดตั้งเรดาร์อัลติมิเตอร์ซึ่งสามารถส่งไมโครเวฟสะท้อนจากผิวน้ำทะเล เพื่อสร้างแผนที่พื้นมหาสมุทรอย่างละเอียด ความรู้ที่ได้จากการสำรวจเหล่านี้เผยให้เห็นว่า ลักษณะภูมิประเทศของพื้นมหาสมุทรมีความหลากหลายไ
วันที่เผยแพร่: 13 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
โรคแอนแทรกซ์คืออะไร?
วันที่เผยแพร่: 8 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
โซเชียลในตอนนี้ เผยแพร่โรคที่กำลังระบาด และกำลังแพร่กระจาย พบผู้ป่วยแล้วในทุกภาค แต่จะชุกชุมมากในภาคใต้ โรคนี้มีพาหะแพร่เชื้อเป็นแมลงชื่อ "ริ้นฝอยทราย" รูปร่างคล้ายยุง มักอาศัยอยู่ตามพื้นที่เกษตรกรรมที่มีต้นไม้เยอะอากาศร้อนชื้น รวมถึงพื้นที่ที่เป็นป่า อาการเริ่มแรกของผู้ติดเชื้อคือหลังจากโดนแมลงร
วันที่เผยแพร่: 2 พฤษภาคม 2568 อ่านต่อ
โลกมักถูกขนานนามว่า “ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน” เนื่องจากเมื่อมองจากอวกาศ จะเห็นว่าโลกถูกปกคลุมด้วยมหาสมุทรเป็นส่วนใหญ่
วันที่เผยแพร่: 29 เมษายน 2568 อ่านต่อ
โดยภาพรวมแล้ว กระแสน้ำในมหาสมุทรมีบทบาทสำคัญในการรักษาสมดุลความร้อนของโลก กระแสน้ำทำหน้าที่ถ่ายเทความร้อนจากบริเวณเขตร้อน (ซึ่งมีความร้อนสะสมอยู่มากเกินไป) ไปยังบริเวณขั้วโลกที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า (ซึ่งมีความร้อนสะสมอยู่น้อย) และในทางกลับกัน การเคลื่อนที่ของกระแสน้ำในมหาสมุทรคิดเป็นประมาณ 25% ของกา
วันที่เผยแพร่: 25 เมษายน 2568 อ่านต่อ
มหาสมุทรสำคัญของโลกนั้นเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
วันที่เผยแพร่: 23 เมษายน 2568 อ่านต่อ
เครื่องวัดความไหวสะเทือนทำงานอย่างไร
วันที่เผยแพร่: 21 เมษายน 2568 อ่านต่อ
FYI Today!
วันที่เผยแพร่: 17 เมษายน 2568 อ่านต่อ
ตามที่ทราบมาแล้วว่า ขนาดของแผ่นดินไหวนั้นวัดจากขนาดความกว้างที่สุดของคลื่นที่วัดได้จากเครื่องวัดคลื่นแผ่นดินไหวหรือไซสโมแกรม อย่างไรก็ดีความเสียหายหรือความพินาศที่เราได้รับจากแผ่นดินไหวนั้นไม่ได้ขึ้นกับปัจจัยความรุนแรงที่วัดเพียงอย่างเดียว แม้ว่าขนาดความรุนแรงจะเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างชัดเจน แต่ก็
วันที่เผยแพร่: 14 เมษายน 2568 อ่านต่อ
มนุษย์เรามีประสบการณ์การเกิดแผ่นดินไหวมานานนับพันปี แต่เพิ่งจะมีระบบที่แม่นยำในการวัดขนาด และพลังร้ายแรงของแผ่นดินไหว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935 (พ.ศ. 2478)เท่านั้น ในปี ค.ศ. 1935 (พ.ศ.
วันที่เผยแพร่: 11 เมษายน 2568 อ่านต่อ